วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Moore's law


 
Moore's law
 

      กฏของมัวร์ หรือ Moore's law   คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่ จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี Gordon E. Moore ผู้ก่อตั้ Intel ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี 1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม semiconductor นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ moore's law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของ ทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้น Moore predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้นซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
 
 

 
กฎของมัวร์ (Moore's Law)

ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ

พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม

การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์

                          คําว่า “กฎของมัวร์
 
นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์ Caltech นามว่Carver Mead
 

ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้เป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965 ต่อมามัวร์จึงได้

เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปในป1975



วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ ( Parity Bit )

        
บิตตรวจสอบ
 

บิตตรวจสอบ หรือ พาริตี้บิต จึงเป็นบิตที่ เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก    1 บิต ซึ่งเป็นบิตพิเศษที่ใช้สำหรับการตรวจสอบความแม่นยำและความถูกต้องและความถูกต้องของข้อมูลที่ถูกจัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์

สำหรับบิตตรวจสอบ จะมีวิธีการตรวจสอบอยู่ 2 วิธีด้วยกัน คือ

1.การตรวจสอบบิตภาวะคู่ ( Even Parity )
 
2.การตรวจสอบภาวะคี่ ( Odd Parity )

วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัสแทนข้อมูล

1. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสแทนข้อมูล ต่อไปนี้ 

รหัสแอสกี (ASCII)  และ รหัสยูนิโค้ด (Unicode)
 
 

รหัสแอสกี

 
     รหัสแอสกี (ASCII)  เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้ว ยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ตามตาราง

 
 
ตารางแสดงรหัสเอสกีที่แทนภาษาอังกฤษและภาษาไทย



 
รหัสยูนิโค้ด (Unicode)



      รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่าง ๆ รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิด ที่ได้กล่าวมา คือใช้เลขฐานสอง 16 บิต ในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกในบางภาษา เช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพ ซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถ แทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย



2. ให้บอก ชื่อ-สกุล ของนักศึกษาในภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์ใหญ่ 
แทน รหัสแอสกี (ASCII)  ใดบ้าง และใช้พื้นที่จัดเก็บกี่ไบต์

 
ONANONG CHIMPARN
  

O=0100 1111
N=0100 1110
A=0100 0001
N=0100 1110
O=0100 1111
N=0100 1110
G=0100 0111
space=0100 0000
C=0100 0011
H=0100 1000
I=0100 1001
M=0100 1101
P=0101 1101
A=0100 0001
R=0101 0010
N=0100 1110

ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ 16 ไบต์


**การนำเสนอของ นางสาวอรอนงค์  ฉิมปาน**

นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คพธ.561 เลขที่ 48


^จบแล้วค่ะ^